จํานองคือ
การจำนองนั้นเป็นสิ่งที่พบเห็นได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ยิ่งในสภาวะที่เศรษฐกิจถดถอยจะเห็นว่ามีผู้นำเอาอสังหาริมทรัพย์ไปจำนองมากมาย และมีหลายคนไม่อาจไถ่ถอนคืนมามาได้ ต้องเสียอสังหาริมทรัพย์นั้นอย่างน่าเสียดาย
ความหมายของการจำนอง
การจำนอง คือ การที่บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนอง” เอาอสังหาริมทรัพย์ของตน เช่นที่ดิน หรือทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จำนองได้ไปจดทะเบียนไว้กับบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า“ผู้รับจำนอง”เพื่อเป็นหลักประกันการชำระหนี้ ทั้งนี้โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบที่ดินหรือ
ทรัพย์สินดังกล่าวนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง (ป.พ.พ.มาตรา 702)
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. เป็นจำนวน 1 แสนบาท โดยนาย ก. ได้นำที่ดินของตน
จำนวน 1 แปลงไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้จำนวน 1 แสนบาท ที่นาย ก. ได้กู้ไปจากาย ข. โดยนาย ก. ยังคงมีสิทธิครอบครองและใช้สอยที่ดิน
ของตนได้ตามปกติ
การจำนองเพื่อการประกันการชำระหนี้แก่ผู้รับจำนองนั้นแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ
1.การจำนองทรัพย์ของตนเองเพื่อการประกันการชำระหนี้ของตนเอง
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ก. นำที่ดินซึ่งเป็นของตนเองไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้ของนาย ก. เอง
2.การจำนองเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ของบุคคลอื่น
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ค. ได้นำที่ดินของตนไปจด
ทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้ที่นาย ก.ได้กู้ไปจากนาย ข.
ทรัพย์สินที่ใช้ในการจำนองได้
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ กล่าวคือ
1. อสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน บ้าน หรือสิ่งปลูกสร้างทุกชนิดอันติดอยู่กับที่ดินนั้น
2. สังหาริมทรัพย์ที่จำนองได้ คือ
2.1 เรือกำปั่น หรือเรือที่มีระวางตั้งแต่6 ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป
2.2 แพ
2.3 สัตว์พาหนะ
2.4 สังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ซึ่งกฎหมายได้บัญญัติให้จดทะเบียนจำนองได้ เช่น เครื่องจักรขนาดใหญ่ เป็นต้น
จํานองคือ
การจำนองนั้นเป็นสิ่งที่พบเห็นได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ยิ่งในสภาวะที่เศรษฐกิจถดถอยจะเห็นว่ามีผู้นำเอาอสังหาริมทรัพย์ไปจำนองมากมาย และมีหลายคนไม่อาจไถ่ถอนคืนมามาได้ ต้องเสียอสังหาริมทรัพย์นั้นอย่างน่าเสียดาย
ความหมายของการจำนอง
การจำนอง คือ การที่บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนอง” เอาอสังหาริมทรัพย์ของตน เช่นที่ดิน หรือทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จำนองได้ไปจดทะเบียนไว้กับบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า“ผู้รับจำนอง”เพื่อเป็นหลักประกันการชำระหนี้ ทั้งนี้โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบที่ดินหรือ
ทรัพย์สินดังกล่าวนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง (ป.พ.พ.มาตรา 702)
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. เป็นจำนวน 1 แสนบาท โดยนาย ก. ได้นำที่ดินของตน
จำนวน 1 แปลงไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้จำนวน 1 แสนบาท ที่นาย ก. ได้กู้ไปจากาย ข. โดยนาย ก. ยังคงมีสิทธิครอบครองและใช้สอยที่ดิน
ของตนได้ตามปกติ
การจำนองเพื่อการประกันการชำระหนี้แก่ผู้รับจำนองนั้นแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ
1.การจำนองทรัพย์ของตนเองเพื่อการประกันการชำระหนี้ของตนเอง
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ก. นำที่ดินซึ่งเป็นของตนเองไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้ของนาย ก. เอง
2.การจำนองเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ของบุคคลอื่น
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ค. ได้นำที่ดินของตนไปจด
ทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้ที่นาย ก.ได้กู้ไปจากนาย ข.
ทรัพย์สินที่ใช้ในการจำนองได้
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ กล่าวคือ
1. อสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน บ้าน หรือสิ่งปลูกสร้างทุกชนิดอันติดอยู่กับที่ดินนั้น
2. สังหาริมทรัพย์ที่จำนองได้ คือ
2.1 เรือกำปั่น หรือเรือที่มีระวางตั้งแต่6 ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป
2.2 แพ
2.3 สัตว์พาหนะ
2.4 สังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ซึ่งกฎหมายได้บัญญัติให้จดทะเบียนจำนองได้ เช่น เครื่องจักรขนาดใหญ่ เป็นต้น
จํานองคือ
การจำนองนั้นเป็นสิ่งที่พบเห็นได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ยิ่งในสภาวะที่เศรษฐกิจถดถอยจะเห็นว่ามีผู้นำเอาอสังหาริมทรัพย์ไปจำนองมากมาย และมีหลายคนไม่อาจไถ่ถอนคืนมามาได้ ต้องเสียอสังหาริมทรัพย์นั้นอย่างน่าเสียดาย
ความหมายของการจำนอง
การจำนอง คือ การที่บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนอง” เอาอสังหาริมทรัพย์ของตน เช่นที่ดิน หรือทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จำนองได้ไปจดทะเบียนไว้กับบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า“ผู้รับจำนอง”เพื่อเป็นหลักประกันการชำระหนี้ ทั้งนี้โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบที่ดินหรือ
ทรัพย์สินดังกล่าวนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง (ป.พ.พ.มาตรา 702)
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. เป็นจำนวน 1 แสนบาท โดยนาย ก. ได้นำที่ดินของตน
จำนวน 1 แปลงไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้จำนวน 1 แสนบาท ที่นาย ก. ได้กู้ไปจากาย ข. โดยนาย ก. ยังคงมีสิทธิครอบครองและใช้สอยที่ดิน
ของตนได้ตามปกติ
การจำนองเพื่อการประกันการชำระหนี้แก่ผู้รับจำนองนั้นแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ
1.การจำนองทรัพย์ของตนเองเพื่อการประกันการชำระหนี้ของตนเอง
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ก. นำที่ดินซึ่งเป็นของตนเองไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้ของนาย ก. เอง
2.การจำนองเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ของบุคคลอื่น
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ค. ได้นำที่ดินของตนไปจด
ทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้ที่นาย ก.ได้กู้ไปจากนาย ข.
ทรัพย์สินที่ใช้ในการจำนองได้
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ กล่าวคือ
1. อสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน บ้าน หรือสิ่งปลูกสร้างทุกชนิดอันติดอยู่กับที่ดินนั้น
2. สังหาริมทรัพย์ที่จำนองได้ คือ
2.1 เรือกำปั่น หรือเรือที่มีระวางตั้งแต่6 ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป
2.2 แพ
2.3 สัตว์พาหนะ
2.4 สังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ซึ่งกฎหมายได้บัญญัติให้จดทะเบียนจำนองได้ เช่น เครื่องจักรขนาดใหญ่ เป็นต้น
จํานองคือ
การจำนองนั้นเป็นสิ่งที่พบเห็นได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ยิ่งในสภาวะที่เศรษฐกิจถดถอยจะเห็นว่ามีผู้นำเอาอสังหาริมทรัพย์ไปจำนองมากมาย และมีหลายคนไม่อาจไถ่ถอนคืนมามาได้ ต้องเสียอสังหาริมทรัพย์นั้นอย่างน่าเสียดาย
ความหมายของการจำนอง
การจำนอง คือ การที่บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนอง” เอาอสังหาริมทรัพย์ของตน เช่นที่ดิน หรือทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จำนองได้ไปจดทะเบียนไว้กับบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า“ผู้รับจำนอง”เพื่อเป็นหลักประกันการชำระหนี้ ทั้งนี้โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบที่ดินหรือ
ทรัพย์สินดังกล่าวนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง (ป.พ.พ.มาตรา 702)
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. เป็นจำนวน 1 แสนบาท โดยนาย ก. ได้นำที่ดินของตน
จำนวน 1 แปลงไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้จำนวน 1 แสนบาท ที่นาย ก. ได้กู้ไปจากาย ข. โดยนาย ก. ยังคงมีสิทธิครอบครองและใช้สอยที่ดิน
ของตนได้ตามปกติ
การจำนองเพื่อการประกันการชำระหนี้แก่ผู้รับจำนองนั้นแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ
1.การจำนองทรัพย์ของตนเองเพื่อการประกันการชำระหนี้ของตนเอง
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ก. นำที่ดินซึ่งเป็นของตนเองไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้ของนาย ก. เอง
2.การจำนองเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ของบุคคลอื่น
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ค. ได้นำที่ดินของตนไปจด
ทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้ที่นาย ก.ได้กู้ไปจากนาย ข.
ทรัพย์สินที่ใช้ในการจำนองได้
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ กล่าวคือ
1. อสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน บ้าน หรือสิ่งปลูกสร้างทุกชนิดอันติดอยู่กับที่ดินนั้น
2. สังหาริมทรัพย์ที่จำนองได้ คือ
2.1 เรือกำปั่น หรือเรือที่มีระวางตั้งแต่6 ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป
2.2 แพ
2.3 สัตว์พาหนะ
2.4 สังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ซึ่งกฎหมายได้บัญญัติให้จดทะเบียนจำนองได้ เช่น เครื่องจักรขนาดใหญ่ เป็นต้น
จํานองคือ
การจำนองนั้นเป็นสิ่งที่พบเห็นได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ยิ่งในสภาวะที่เศรษฐกิจถดถอยจะเห็นว่ามีผู้นำเอาอสังหาริมทรัพย์ไปจำนองมากมาย และมีหลายคนไม่อาจไถ่ถอนคืนมามาได้ ต้องเสียอสังหาริมทรัพย์นั้นอย่างน่าเสียดาย
ความหมายของการจำนอง
การจำนอง คือ การที่บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนอง” เอาอสังหาริมทรัพย์ของตน เช่นที่ดิน หรือทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จำนองได้ไปจดทะเบียนไว้กับบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า“ผู้รับจำนอง”เพื่อเป็นหลักประกันการชำระหนี้ ทั้งนี้โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบที่ดินหรือ
ทรัพย์สินดังกล่าวนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง (ป.พ.พ.มาตรา 702)
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. เป็นจำนวน 1 แสนบาท โดยนาย ก. ได้นำที่ดินของตน
จำนวน 1 แปลงไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้จำนวน 1 แสนบาท ที่นาย ก. ได้กู้ไปจากาย ข. โดยนาย ก. ยังคงมีสิทธิครอบครองและใช้สอยที่ดิน
ของตนได้ตามปกติ
การจำนองเพื่อการประกันการชำระหนี้แก่ผู้รับจำนองนั้นแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ
1.การจำนองทรัพย์ของตนเองเพื่อการประกันการชำระหนี้ของตนเอง
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ก. นำที่ดินซึ่งเป็นของตนเองไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้ของนาย ก. เอง
2.การจำนองเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ของบุคคลอื่น
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ค. ได้นำที่ดินของตนไปจด
ทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้ที่นาย ก.ได้กู้ไปจากนาย ข.
ทรัพย์สินที่ใช้ในการจำนองได้
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ กล่าวคือ
1. อสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน บ้าน หรือสิ่งปลูกสร้างทุกชนิดอันติดอยู่กับที่ดินนั้น
2. สังหาริมทรัพย์ที่จำนองได้ คือ
2.1 เรือกำปั่น หรือเรือที่มีระวางตั้งแต่6 ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป
2.2 แพ
2.3 สัตว์พาหนะ
2.4 สังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ซึ่งกฎหมายได้บัญญัติให้จดทะเบียนจำนองได้ เช่น เครื่องจักรขนาดใหญ่ เป็นต้น
จํานองคือ
การจำนองนั้นเป็นสิ่งที่พบเห็นได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ยิ่งในสภาวะที่เศรษฐกิจถดถอยจะเห็นว่ามีผู้นำเอาอสังหาริมทรัพย์ไปจำนองมากมาย และมีหลายคนไม่อาจไถ่ถอนคืนมามาได้ ต้องเสียอสังหาริมทรัพย์นั้นอย่างน่าเสียดาย
ความหมายของการจำนอง
การจำนอง คือ การที่บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนอง” เอาอสังหาริมทรัพย์ของตน เช่นที่ดิน หรือทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จำนองได้ไปจดทะเบียนไว้กับบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า“ผู้รับจำนอง”เพื่อเป็นหลักประกันการชำระหนี้ ทั้งนี้โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบที่ดินหรือ
ทรัพย์สินดังกล่าวนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง (ป.พ.พ.มาตรา 702)
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. เป็นจำนวน 1 แสนบาท โดยนาย ก. ได้นำที่ดินของตน
จำนวน 1 แปลงไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้จำนวน 1 แสนบาท ที่นาย ก. ได้กู้ไปจากาย ข. โดยนาย ก. ยังคงมีสิทธิครอบครองและใช้สอยที่ดิน
ของตนได้ตามปกติ
การจำนองเพื่อการประกันการชำระหนี้แก่ผู้รับจำนองนั้นแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ
1.การจำนองทรัพย์ของตนเองเพื่อการประกันการชำระหนี้ของตนเอง
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ก. นำที่ดินซึ่งเป็นของตนเองไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้ของนาย ก. เอง
2.การจำนองเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ของบุคคลอื่น
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ค. ได้นำที่ดินของตนไปจด
ทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้ที่นาย ก.ได้กู้ไปจากนาย ข.
ทรัพย์สินที่ใช้ในการจำนองได้
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ กล่าวคือ
1. อสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน บ้าน หรือสิ่งปลูกสร้างทุกชนิดอันติดอยู่กับที่ดินนั้น
2. สังหาริมทรัพย์ที่จำนองได้ คือ
2.1 เรือกำปั่น หรือเรือที่มีระวางตั้งแต่6 ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป
2.2 แพ
2.3 สัตว์พาหนะ
2.4 สังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ซึ่งกฎหมายได้บัญญัติให้จดทะเบียนจำนองได้ เช่น เครื่องจักรขนาดใหญ่ เป็นต้น
จํานองคือ
การจำนองนั้นเป็นสิ่งที่พบเห็นได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ยิ่งในสภาวะที่เศรษฐกิจถดถอยจะเห็นว่ามีผู้นำเอาอสังหาริมทรัพย์ไปจำนองมากมาย และมีหลายคนไม่อาจไถ่ถอนคืนมามาได้ ต้องเสียอสังหาริมทรัพย์นั้นอย่างน่าเสียดาย
ความหมายของการจำนอง
การจำนอง คือ การที่บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนอง” เอาอสังหาริมทรัพย์ของตน เช่นที่ดิน หรือทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จำนองได้ไปจดทะเบียนไว้กับบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า“ผู้รับจำนอง”เพื่อเป็นหลักประกันการชำระหนี้ ทั้งนี้โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบที่ดินหรือ
ทรัพย์สินดังกล่าวนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง (ป.พ.พ.มาตรา 702)
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. เป็นจำนวน 1 แสนบาท โดยนาย ก. ได้นำที่ดินของตน
จำนวน 1 แปลงไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้จำนวน 1 แสนบาท ที่นาย ก. ได้กู้ไปจากาย ข. โดยนาย ก. ยังคงมีสิทธิครอบครองและใช้สอยที่ดิน
ของตนได้ตามปกติ
การจำนองเพื่อการประกันการชำระหนี้แก่ผู้รับจำนองนั้นแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ
1.การจำนองทรัพย์ของตนเองเพื่อการประกันการชำระหนี้ของตนเอง
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ก. นำที่ดินซึ่งเป็นของตนเองไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้ของนาย ก. เอง
2.การจำนองเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ของบุคคลอื่น
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ค. ได้นำที่ดินของตนไปจด
ทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้ที่นาย ก.ได้กู้ไปจากนาย ข.
ทรัพย์สินที่ใช้ในการจำนองได้
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ กล่าวคือ
1. อสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน บ้าน หรือสิ่งปลูกสร้างทุกชนิดอันติดอยู่กับที่ดินนั้น
2. สังหาริมทรัพย์ที่จำนองได้ คือ
2.1 เรือกำปั่น หรือเรือที่มีระวางตั้งแต่6 ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป
2.2 แพ
2.3 สัตว์พาหนะ
2.4 สังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ซึ่งกฎหมายได้บัญญัติให้จดทะเบียนจำนองได้ เช่น เครื่องจักรขนาดใหญ่ เป็นต้น
จํานองคือ
การจำนองนั้นเป็นสิ่งที่พบเห็นได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ยิ่งในสภาวะที่เศรษฐกิจถดถอยจะเห็นว่ามีผู้นำเอาอสังหาริมทรัพย์ไปจำนองมากมาย และมีหลายคนไม่อาจไถ่ถอนคืนมามาได้ ต้องเสียอสังหาริมทรัพย์นั้นอย่างน่าเสียดาย
ความหมายของการจำนอง
การจำนอง คือ การที่บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนอง” เอาอสังหาริมทรัพย์ของตน เช่นที่ดิน หรือทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จำนองได้ไปจดทะเบียนไว้กับบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า“ผู้รับจำนอง”เพื่อเป็นหลักประกันการชำระหนี้ ทั้งนี้โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบที่ดินหรือ
ทรัพย์สินดังกล่าวนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง (ป.พ.พ.มาตรา 702)
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. เป็นจำนวน 1 แสนบาท โดยนาย ก. ได้นำที่ดินของตน
จำนวน 1 แปลงไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้จำนวน 1 แสนบาท ที่นาย ก. ได้กู้ไปจากาย ข. โดยนาย ก. ยังคงมีสิทธิครอบครองและใช้สอยที่ดิน
ของตนได้ตามปกติ
การจำนองเพื่อการประกันการชำระหนี้แก่ผู้รับจำนองนั้นแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ
1.การจำนองทรัพย์ของตนเองเพื่อการประกันการชำระหนี้ของตนเอง
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ก. นำที่ดินซึ่งเป็นของตนเองไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้ของนาย ก. เอง
2.การจำนองเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ของบุคคลอื่น
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ค. ได้นำที่ดินของตนไปจด
ทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้ที่นาย ก.ได้กู้ไปจากนาย ข.
ทรัพย์สินที่ใช้ในการจำนองได้
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ กล่าวคือ
1. อสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน บ้าน หรือสิ่งปลูกสร้างทุกชนิดอันติดอยู่กับที่ดินนั้น
2. สังหาริมทรัพย์ที่จำนองได้ คือ
2.1 เรือกำปั่น หรือเรือที่มีระวางตั้งแต่6 ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป
2.2 แพ
2.3 สัตว์พาหนะ
2.4 สังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ซึ่งกฎหมายได้บัญญัติให้จดทะเบียนจำนองได้ เช่น เครื่องจักรขนาดใหญ่ เป็นต้น
จํานองคือ
การจำนองนั้นเป็นสิ่งที่พบเห็นได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ยิ่งในสภาวะที่เศรษฐกิจถดถอยจะเห็นว่ามีผู้นำเอาอสังหาริมทรัพย์ไปจำนองมากมาย และมีหลายคนไม่อาจไถ่ถอนคืนมามาได้ ต้องเสียอสังหาริมทรัพย์นั้นอย่างน่าเสียดาย
ความหมายของการจำนอง
การจำนอง คือ การที่บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนอง” เอาอสังหาริมทรัพย์ของตน เช่นที่ดิน หรือทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จำนองได้ไปจดทะเบียนไว้กับบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า“ผู้รับจำนอง”เพื่อเป็นหลักประกันการชำระหนี้ ทั้งนี้โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบที่ดินหรือ
ทรัพย์สินดังกล่าวนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง (ป.พ.พ.มาตรา 702)
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. เป็นจำนวน 1 แสนบาท โดยนาย ก. ได้นำที่ดินของตน
จำนวน 1 แปลงไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้จำนวน 1 แสนบาท ที่นาย ก. ได้กู้ไปจากาย ข. โดยนาย ก. ยังคงมีสิทธิครอบครองและใช้สอยที่ดิน
ของตนได้ตามปกติ
การจำนองเพื่อการประกันการชำระหนี้แก่ผู้รับจำนองนั้นแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ
1.การจำนองทรัพย์ของตนเองเพื่อการประกันการชำระหนี้ของตนเอง
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ก. นำที่ดินซึ่งเป็นของตนเองไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้ของนาย ก. เอง
2.การจำนองเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ของบุคคลอื่น
ตัวอย่าง นาย ก. ได้กู้เงินจากนาย ข. 1 แสนบาท โดยนาย ค. ได้นำที่ดินของตนไปจด
ทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้ที่นาย ก.ได้กู้ไปจากนาย ข.
ทรัพย์สินที่ใช้ในการจำนองได้
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ กล่าวคือ
1. อสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน บ้าน หรือสิ่งปลูกสร้างทุกชนิดอันติดอยู่กับที่ดินนั้น
2. สังหาริมทรัพย์ที่จำนองได้ คือ
2.1 เรือกำปั่น หรือเรือที่มีระวางตั้งแต่6 ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป
2.2 แพ
2.3 สัตว์พาหนะ
2.4 สังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ซึ่งกฎหมายได้บัญญัติให้จดทะเบียนจำนองได้ เช่น เครื่องจักรขนาดใหญ่ เป็นต้น
ความคิดเห็น